ผลการตรวจสอบสถานะการเงิน


ภาพรวม

การเงินของคุณอยู่ในระดับที่ ”ดี”

หากอยากรู้ว่าด้านใดคือสิ่งที่ดีแล้ว และสิ่งใดที่ควรปรับปรุง เพื่อให้สุขภาพทางการเงินของคุณแข็งแรงยิ่งขึ้น ลองไปดูผลวิเคราะห์แยกส่วนกันเลยดีกว่า หากอยากรู้ว่าด้านใดคือสิ่งที่ดีแล้ว และสิ่งใดที่ควรปรับปรุง เพื่อให้สุขภาพทางการเงินของคุณแข็งแรงยิ่งขึ้น
ลองไปดูผลวิเคราะห์แยกส่วนกันเลยดีกว่า

วิเคราะห์สภาพคล่อง
อัตราส่วนสภาพคล่อง (Liquidity Ratio)

การประเมินความสามารถในการปิดหนี้ระยะสั้นทั้งหมด ด้วยสินทรัพย์สภาพคล่อง (เงินสด หรือเงินฝาก) ที่มีอยู่ โดยผู้ที่มีอัตราส่วนสภาพคล่องมากกว่า 1 นั้นบ่งบอกว่า มีเงินสดเพียงพอที่จะปิดหนี้ระยะสั้นได้หมดทันที

Benchmark
คะแนนเฉลี่ย

คำอธิบาย

ค่าอัตราส่วนสภาพคล่องน้อยกว่า 1 บ่งชี้ว่าคุณมีการสำรองเงินสด หรือเงินฝาก น้อยเกินไป หรือ ภาระหนี้ระยะสั้นมากเกินอำนาจในการชำระเงิน


อัตราส่วนสภาพคล่องพื้นฐาน หรือ อัตรส่วนค่าใช้จ่ายประจำวัน (Basic Liquidity Ratio)

การประเมินความสามารถในการดำรงชีวิตในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉินไม่สามารถหารายได้ได้ และสามารถใช้สินทรัพย์ที่เป็นเงินสดหรือเงินฝาก ในการใช้ชีวิตต่อไปได้ ควรมีค่าไม่น้อยกว่า 3 เดือน หรือสามารถใช้เงินสดที่มีชำระค่าใช้จ่ายต่อไปได้อีกอย่างน้อย 3 เดือน และค่าที่เหมาะสมควรอยู่ที่ประมาณ 6 เดือน หรือมากกว่านั้น แล้วแต่ความผันผวนของค่าใช้จ่ายของแต่ละบุคคล

Benchmark
คะแนนเฉลี่ย

คำอธิบาย

มีเงินสดสำรองน้อยเกินไป อาจจะมีปัญหาได้หากเกิดเหตุฉุกเฉินที่จำเป็นต้องใช้เงิน ควรสำรองเงินสดเพิ่มขึ้น


อัตราส่วนสินทรัพย์ที่มีสภาพคล่องต่อความมั่งคั่งสุทธิ (Liquid Assets to Net Worth Ratio)

ค่าที่บอกว่าหากนำสินทรัพย์ที่เหลือจากการชำระหนี้ทั้งหมดมาคำนวณ จะมีปริมาณเงินสด/เงินฝากอยู่เท่าใด โดยค่าที่เหมาะสมคือ ควรมีสัดส่วนของเงินสด/เงินฝาก ที่เป็นสินทรัพย์สภาพคล่องอยู่ไม่น้อยกว่า 15%

Benchmark
คะแนนเฉลี่ย

คำอธิบาย

มีสัดส่วนของเงินสดอยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม แต่หากมีสูงเกินไป อาจจะพิจารณาโยกเงินสดบางส่วนไปลงทุนเพื่อเพิ่มโอกาสในการได้รับผลตอบแทนที่มากขึ้นได้ (ให้พิจารณาควบคู่กับอัตราส่วนสภาพคล่องพื้นฐาน)

วิเคราะห์หนี้สิน
อัตราส่วนหนี้สินต่อสินทรัพย์ (Debt to Asset Ratio)

ไม่ควรมีค่าสูงกว่า 50% เนื่องจากหากค่าหนี้มีค่าสูง จะบ่งบอกว่าบุคคลดังกล่าวอาจจะมีสินทรัพย์ไม่เพียงพอที่จะชำระหนี้สินได้หมดในอนาคต

Benchmark
คะแนนเฉลี่ย

คำอธิบาย

มีสัดส่วนหนี้สินอยู่สูงกว่าสินทรัพย์ ซึ่งอาจจะเกิดความเสี่ยงในการชำระหนี้สินได้ หากเกิดปัญหาด้านสภาพคล่องหรือการขาดรายได้


อัตราส่วนแสดงความสามารถในการชำระคืนหนี้ทั้งหมด (Solvency Ratio)

การประเมินความสามารถในการดำรงชีวิตในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉินไม่สามารถหารายได้ได้ และสามารถใช้สินทรัพย์ที่เป็นเงินสดหรือเงินฝาก ในการใช้ชีวิตต่อไปได้ ควรมีค่าไม่น้อยกว่า 3 เดือน หรือสามารถใช้เงินสดที่มีชำระค่าใช้จ่ายต่อไปได้อีกอย่างน้อย 3 เดือน และค่าที่เหมาะสมควรอยู่ที่ประมาณ 6 เดือน หรือมากกว่านั้น แล้วแต่ความผันผวนของค่าใช้จ่ายของแต่ละบุคคล

Benchmark
คะแนนเฉลี่ย

คำอธิบาย

มีความมั่งคั่งสุทธิในสัดส่วนที่สูง ถือว่าเป็นผู้ที่มีความมั่นคงทางการเงิน เพราะสามารถจัดการกับภาระหนี้ได้ด้วยสินทรัพย์ที่มีอยู่


อัตราส่วนแสดงการชำระคืนหนี้สินจากรายได้ (Debt Service Ratio)

เป็นอัตราส่วนที่สำคัญที่มักจะถูกใช้ในการประเมินความสามารถในการชำระคืนหนี้สินได้ ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญสำหรับการประเมินว่าจะให้กู้เงินได้หรือไม่ โดยค่าที่บ่งบอกว่า เป็นคนที่มีสุขภาพการเงินดี มีโอกาสชำระหนี้คืนได้สูงจะอยู่ไม่เกิน 35% แต่หากมีว่าสูงกว่า 45% ขึ้นไป จะถูกประเมินว่ามีความเสี่ยงที่จะชำระหนี้ไม่ได้ หรือไม่มีความมั่นคงทางการเงิน

Benchmark
คะแนนเฉลี่ย

คำอธิบาย

มีภาระหนี้ต่ำ มีความเสี่ยงที่จะมีปัญหาทางการเงินต่ำ และสามารถพิจารณาในการขอสินเชื่อได้อยู่


อัตราส่วนแสดงการชำระคืนหนี้สินที่ไม่ใช่การจดจำนองจากรายได้ (Non-Mortgage Service Ratio)

เป็นค่าที่พิจารณาว่ามีภาระการชำระคืนหนี้สินอื่นๆที่ไม่ใช่หนี้สินของอสังหาริมทรัพย์มากเกินไปหรือไม่ ซึ่งไม่ควรมีภาระการชำระหนี้หนี้สิน อื่นๆเกินกว่า 20% ของรายได้

Benchmark
คะแนนเฉลี่ย

คำอธิบาย

ถือว่ามีภาระหนี้อยู่ในสัดส่วนที่น้อย เป็นคนที่มีความมั่นคงทางการเงินอยู่ในระดับที่ดี

วิเคราะห์การออมและการลงทุน
อัตราส่วนการออม (Savings Ratio)

เป็นค่าที่คำนวณว่า ปัจจุบันมีการออมเงินเป็นสัดส่วนเงินเท่าใดของรายได้ ซึ่งค่าที่แนะนำและควรจะทำให้ได้คือ ออมเงินไม่น้อยกว่า 10% ของรายได้

Benchmark
คะแนนเฉลี่ย

คำอธิบาย

มีสัดส่วนเงินออมต่อรายได้ต่ำเกินไป ควรบริหารจัดการรายจ่าย เพื่อเพิ่มอัตราส่วนเงินออมให้มากขึ้น


อัตราส่วนการลงทุน (Net Investment Assets to Net Worth Ratio)

อัตราส่วนการลงทุน จะประเมินว่า ในความมั่งคั่งสุทธิ (Net Worth) ที่มีอยู่นั้น มีสัดส่วนของเงินที่เป็นการลงทุนอยู่เท่าใด ซึ่งหากใครที่มีค่าเกินกว่า 50% จะถือว่าเป็นผู้ที่มีความมั่งคั่งและมั่นคงทางการเงิน ค่านี้อาจจะมีน้อยในคนอายุน้อยหรือเริ่มทำงานใหม่ และค่อยๆเพิ่มขึ้นเมื่ออายุมากขึ้น

Benchmark
คะแนนเฉลี่ย

คำอธิบาย

มีสัดส่วนของเงินลงทุนอยู่น้อยกว่าเกณฑ์มาตรฐาน แต่หากว่าอายุยังน้อยอยู่ในช่วงสร้างตัว ให้ค่อยๆทยอยสะสมสินทรัพย์ลงทุนเพิ่มขึ้น

วิเคราะห์สภาพคล่อง
Benchmark คะแนนเฉลี่ย คำอธิบาย
อัตราส่วนสภาพคล่อง (Liquidity Ratio)

การประเมินความสามารถในการปิดหนี้ระยะสั้นทั้งหมด ด้วยสินทรัพย์สภาพคล่อง (เงินสด หรือเงินฝาก) ที่มีอยู่ โดยผู้ที่มีอัตราส่วนสภาพคล่องมากกว่า 1 นั้นบ่งบอกว่า มีเงินสดเพียงพอที่จะปิดหนี้ระยะสั้นได้หมดทันที

ค่าอัตราส่วนสภาพคล่องน้อยกว่า 1 บ่งชี้ว่าคุณมีการสำรองเงินสด หรือเงินฝาก น้อยเกินไป หรือ ภาระหนี้ระยะสั้นมากเกินอำนาจในการชำระเงิน

อัตราส่วนสภาพคล่องพื้นฐาน หรือ อัตรส่วนค่าใช้จ่ายประจำวัน (Basic Liquidity Ratio)

การประเมินความสามารถในการดำรงชีวิตในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉินไม่สามารถหารายได้ได้ และสามารถใช้สินทรัพย์ที่เป็นเงินสดหรือเงินฝาก ในการใช้ชีวิตต่อไปได้ ควรมีค่าไม่น้อยกว่า 3 เดือน หรือสามารถใช้เงินสดที่มีชำระค่าใช้จ่ายต่อไปได้อีกอย่างน้อย 3 เดือน และค่าที่เหมาะสมควรอยู่ที่ประมาณ 6 เดือน หรือมากกว่านั้น แล้วแต่ความผันผวนของค่าใช้จ่ายของแต่ละบุคคล

มีเงินสดสำรองน้อยเกินไป อาจจะมีปัญหาได้หากเกิดเหตุฉุกเฉินที่จำเป็นต้องใช้เงิน ควรสำรองเงินสดเพิ่มขึ้น

อัตราส่วนสินทรัพย์ที่มีสภาพคล่องต่อความมั่งคั่งสุทธิ (Liquid Assets to Net Worth Ratio)

ค่าที่บอกว่าหากนำสินทรัพย์ที่เหลือจากการชำระหนี้ทั้งหมดมาคำนวณ จะมีปริมาณเงินสด/เงินฝากอยู่เท่าใด โดยค่าที่เหมาะสมคือ ควรมีสัดส่วนของเงินสด/เงินฝาก ที่เป็นสินทรัพย์สภาพคล่องอยู่ไม่น้อยกว่า 15%

มีสัดส่วนของเงินสดอยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม แต่หากมีสูงเกินไป อาจจะพิจารณาโยกเงินสดบางส่วนไปลงทุนเพื่อเพิ่มโอกาสในการได้รับผลตอบแทนที่มากขึ้นได้ (ให้พิจารณาควบคู่กับอัตราส่วนสภาพคล่องพื้นฐาน)

วิเคราะห์หนี้สิน
Benchmark คะแนนเฉลี่ย คำอธิบาย
อัตราส่วนหนี้สินต่อสินทรัพย์ (Debt to Asset Ratio)

ไม่ควรมีค่าสูงกว่า 50% เนื่องจากหากค่าหนี้มีค่าสูง จะบ่งบอกว่าบุคคลดังกล่าวอาจจะมีสินทรัพย์ไม่เพียงพอที่จะชำระหนี้สินได้หมดในอนาคต

มีสัดส่วนหนี้สินอยู่สูงกว่าสินทรัพย์ ซึ่งอาจจะเกิดความเสี่ยงในการชำระหนี้สินได้ หากเกิดปัญหาด้านสภาพคล่องหรือการขาดรายได้

อัตราส่วนแสดงความสามารถในการชำระคืนหนี้ทั้งหมด (Solvency Ratio)

ถ้ามีค่ามากกว่า 50% ถือว่าเป็นผู้ที่สามารถชำระหนี้ทั้งหมดได้ และยังมีสินทรัพย์คงเหลือ ถือว่าเป็นผู้ที่มีความมั่นคงทางการเงิน

มีเงินสดสำรองน้อยเกินไป อาจจะมีปัญหาได้หากเกิดเหตุฉุกเฉินที่จำเป็นต้องใช้เงิน ควรสำรองเงินสดเพิ่มขึ้น

อัตราส่วนแสดงการชำระคืนหนี้สินจากรายได้ (Debt Service Ratio)

เป็นอัตราส่วนที่สำคัญที่มักจะถูกใช้ในการประเมินความสามารถในการชำระคืนหนี้สินได้ ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญสำหรับการประเมินว่าจะให้กู้เงินได้หรือไม่ โดยค่าที่บ่งบอกว่า เป็นคนที่มีสุขภาพการเงินดี มีโอกาสชำระหนี้คืนได้สูงจะอยู่ไม่เกิน 35% แต่หากมีว่าสูงกว่า 45% ขึ้นไป จะถูกประเมินว่ามีความเสี่ยงที่จะชำระหนี้ไม่ได้ หรือไม่มีความมั่นคงทางการเงิน

มีภาระหนี้ต่ำ มีความเสี่ยงที่จะมีปัญหาทางการเงินต่ำ และสามารถพิจารณาในการขอสินเชื่อได้อยู่

อัตราส่วนแสดงการชำระคืนหนี้สินที่ไม่ใช่การจดจำนองจากรายได้ (Non-Mortgage Service Ratio)

เป็นค่าที่พิจารณาว่ามีภาระการชำระคืนหนี้สินอื่นๆที่ไม่ใช่หนี้สินของอสังหาริมทรัพย์มากเกินไปหรือไม่ ซึ่งไม่ควรมีภาระการชำระหนี้หนี้สิน อื่นๆเกินกว่า 20% ของรายได้

ถือว่ามีภาระหนี้อยู่ในสัดส่วนที่น้อย เป็นคนที่มีความมั่นคงทางการเงินอยู่ในระดับที่ดี

วิเคราะห์การออมและการลงทุน
Benchmark คะแนนเฉลี่ย คำอธิบาย
อัตราส่วนการออม (Savings Ratio)

เป็นค่าที่คำนวณว่า ปัจจุบันมีการออมเงินเป็นสัดส่วนเงินเท่าใดของรายได้ ซึ่งค่าที่แนะนำและควรจะทำให้ได้คือ ออมเงินไม่น้อยกว่า 10% ของรายได้

มีสัดส่วนเงินออมต่อรายได้ต่ำเกินไป ควรบริหารจัดการรายจ่าย เพื่อเพิ่มอัตราส่วนเงินออมให้มากขึ้น

อัตราส่วนการลงทุน (Net Investment Assets to Net Worth Ratio)

อัตราส่วนการลงทุน จะประเมินว่า ในความมั่งคั่งสุทธิ (Net Worth) ที่มีอยู่นั้น มีสัดส่วนของเงินที่เป็นการลงทุนอยู่เท่าใด ซึ่งหากใครที่มีค่าเกินกว่า 50% จะถือว่าเป็นผู้ที่มีความมั่งคั่งและมั่นคงทางการเงิน ค่านี้อาจจะมีน้อยในคนอายุน้อยหรือเริ่มทำงานใหม่ และค่อยๆเพิ่มขึ้นเมื่ออายุมากขึ้น

มีสัดส่วนของเงินลงทุนอยู่น้อยกว่าเกณฑ์มาตรฐาน แต่หากว่าอายุยังน้อยอยู่ในช่วงสร้างตัว ให้ค่อยๆทยอยสะสมสินทรัพย์ลงทุนเพิ่มขึ้น




Contact

ที่ปรึกษาส่วนตัวด้านการลงทุน เพิ่มโอกาสให้คุณไปถึงเป้าหมายทางการเงินได้เร็วกว่า ด้วยคำแนะนำที่ใช่คุณ

เลือกรับสิทธิประโยชน์
ด้านไลฟ์สไตล์
myPreferred

ซื้อ-ลงทุน จองซื้อหุ้นกู้ CIMB THAI Digital Banking

แชทกับเรา @CIMBTHAIWealth